เอส ดี พานิชย์ - จำหน่ายไม้พาเลท พาเลทไม้ ไม้อัด ราคาถูก อยุธยา
แก้ไขข้อมูล
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
บริการของเรา
ตัวอย่างผลงาน
ติดต่อเรา
Close
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
บริการของเรา
ตัวอย่างผลงาน
ติดต่อเรา
ผลิตภัณฑ์
ลังไม้
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
ไม้พาเลท
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
ไม้อัด
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
ไม้แปรรูบตัดตามขนาด
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
เพิ่มเมนู
move up
move down
edit
remove
ข้อมุลเกี่ยวกับวัสดุบรรจุภัณฑ์
IPCC
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
ศัตรูทำลายไม้
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
วิธีจัดเก็บไม้พาเลทIPCC
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
วิธีการเลือกซื้อพาเลท
แก้ไขข้อมูล
remove
move down
move up
เพิ่มเมนู
move up
move down
edit
remove
เอส ดี พานิชย์ ยินดีรับใช้
เอส ดี พานิชย์ ไม้พาเลท พาเลทไม้ ลังไม้ ไม้อัด ราคาถูก อยุธยา
move up
move down
edit
remove
มาตรฐานของเรา
เอส ดี พานิชย์ ไม้พาเลท พาเลทไม้ ลังไม้ ไม้อัด ราคาถูก อยุธยา
move up
move down
edit
remove
ผู้ให้การรับรองมาตรฐาน
เอส ดี พานิชย์ ไม้พาเลท พาเลทไม้ ลังไม้ ไม้อัด ราคาถูก อยุธยา
move up
move down
edit
remove
มาตรฐานของเรา
move up
move down
edit
remove
เพิ่มกลุ่มเมนู
เพิ่ม Banner
ศัตรูทำลายไม้ โดย ผศ.ทรงกลด จารุสมบัติ
ภาพวงจรไม้ที่ถูกทำลายโดยศัตรูไม้
เป็นตัว-เจาะเข้าทำลาย-วางไข่-เป็นตัวอ่อน
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
ร่องรอยการทำลายของมอดรูเข็ม
มอดรูเข็ม (Pin Holes) เป็นมอดที่เข้าทำลายไม้ที่ตัดฟันใหม่ๆ เจาะเข้าทำลายรูเล็กๆ เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1.5 มม. ภายในรูเรียบเกลี้ยงบางทีผนังภายในจะมีสีดำ หรือสีน้ำเงินเข้ม มอดพวกนี้ได้แก่ พวก Platypodidae, Scolytidae เป็นต้น
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
ร่องรอยการเข้าทำลายของมอดขี้ขุย
มอดขี้ขุย (Post Beetles) เป็นมอดที่สำคัญที่เข้าทำลายกระพี้ไม้ทั้งไม้กำลังจะแห้งหรือไม้ที่แห้งดีแล้ว จะเข้าทำลายไม้จนเหลือแต่ผงคล้ายแป้ง รูมอดจะมีขนาดไม่เกิน 3 มม. มอดพวกนี้ได้แก่ พวก Lyctidae เช่น Minthea sp, และ Lyctus sp. Bostrichidae เช่น Sinoxylon sp., Heterbostrychus sp. และ Dinoderus sp. เป็นต้น
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
ปลวก Termites
ปลวก (Termites) ปลวกเป็นแมลงงทำลายไม้ที่สำคัญและทำความเสียหายมากที่สุด แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ ปลวกใต้ดิน ปลวกกัดไม้แห้ง และปลวกกัดไม้เปียก ปลวกที่ทำความเสียหายมากที่สุด คือ ปลวกใต้ดิน
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
Heterobostrychus Aequalis Waterhouse
จัดเป็นมอดขนาดใหญ่ มีสีน้ำตาลดำ มอดมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก ตัวยาว 6-13 มิลลิเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะแตกต่างกัน คือ ปีกคู่หน้าของตัวผู้จะมีหนามข้างละ 1 อัน ตัวหนอนของมอดชนิดนี้มีขนาดใหญ่กว่ามอดชนิดสอง 2-3 เท่า และลักษณะการทำลายก็ใกล้เคียงกัน แต่รูทางออกจะมีขนาดใหญ่กว่า และมีระยะห่างจากกันมากกว่า ช่วงระยะเวลาการเจริญเติบโตของมอดทั้งสองชนิดนี้ก็ใกล้เคียงกัน คือ ประมาณ 4-6 เดือน แต่มอดขนาดใหญ่นี้จะพบเข้าทำลายไม้สด น้อยกว่ามอดชนิดที่ 2 คือ มักจะเข้าทำลายไม้ที่มีเดือน แต่มอดขนาดใหญ่นี้จะพบเข้าทำลายไม้สดน้อยกว่ามอดชนิดที่ 2 คือ มักจะเข้าทำลายไม้ที่มีความชื้นต่ำกว่า 50% ลงมาถึง 20%
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
Sinoxylon Anale Lesne
จัดเป็นมอดขนาดกลางสีน้ำตาลดำ ลำตัวยาว 4.0-5.5 มิลลิเมตร แผ่นหลังขรุขระ ด้านบนเป็นหนามเล็กๆ เรียงกัน 4-5 อัน ปีกส่วนท้ายตัดเฉียงมีหนามข้างละ 1 อัน การเข้าทำลายไม้เริ่มด้วยมอดตัวเมียวางไข่บนรอยแตกหรือซอกไม้ แล้วตัวหนอน จะเจาะเข้าไปในไม้และทำลายไม้ในลักษณะเดียวกันกับมอดชนิดแรกที่กล่าวถึง แต่ช่วงระยะเวลาการเจริญเติบโตจากไข่ไปเป็นตัวแก่ยาวกว่า คือ ใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 4-6 เดือน และรูทางออกจะมีขนาดประมาณเท่าหัวไม้ขีด ซึ่งใหญ่กว่ารูทางออกของมอดชนิดแรก มอดชนิดนี้สามารถเข้าทำลายไม้สดได้ คือ จะพบตัวเมียวางไข่บนไม้ที่เพิ่งตัดได้และเมื่อตัวแก่ออกไปแล้ว จะสามารถกลับเข้าทำลายไม้ได้อีก ถ้าความชื้นในไม้ยังคงสูงกว่า15%
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
Minthea Rugicollis Walker
เป็นมอดขนาดเล็ก ลำตัวยาว 1.8-3.2 มิลลิเมตร สีน้ำตาล ปีกหน้าเมื่อส่องดูด้วยกล้องขยายจะพบขนสีขาวอมเหลืองเรียงไปตามยาวของลำตัว 6 แถว ตัวแก่ของมอดชนิดนี้มีอายุ 21 วัน ไข่จะฟักเป็นตัวหนอนในระยะเวลา 6-12 วัน ตัวหนอนกัดกินเนื้อไม้ประมาณ 2 เดือน จึงกลายเป็นดักแด้ ซึ่งจะออกเป็นตัวแก่ คือ ตัวมอด ในระยะเวลาประมาณ 7 วัน การเข้าทำลายไม้ของมอดชนิดนี้เริ่มจากตัวแก่หรือมอดตัวเมีย ซึ่งจะออกจากดักแด้ซึ่งอยู่ในเนื้อไม้ แล้วมาผสมพันธุ์กับมอดตัวผู้ แล้ววางไข่ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอดแหลมเรียวเล็กๆ เข้าไปในช่องว่างระหว่างเซลล์หรือรอยแตกของเนื้อไม้ โดยตัวเมียตัวหนึ่งสามารถวางไข่ได้ 30-80 ฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวอ่อน และกัดกินเนื้อไม้ โดยกินแห้งในเนื้อไม้เป็นอาหาร และขับถ่ายของเสียเป็นผงละเอียดคล้ายแป้งออกมา ในช่วงแรกของการทำลาย ผงคล้ายแป้งนี้จะอัดอยู่ในรูภายในเนื้อไม้ แต่ภายหลังเมื่อตัวหนอนเข้าดักแด้และกลายเป็นตัวแก่เจาะรูออกมาภายนอกเนื้อไม้ ผงเหล่านี้ก็จะหลุดล่วงตามรูทางออกของมอดมากองอยู่ภายนอก การทำลายเมื่อเกิดมากๆ เนื้อไม้ภายในจะถูกทำลายไปหมด เหลือแต่เพียงผิวนอกบางๆ ที่มีรูพรุนขนาดหัวเข็มหมุดอยู่ภายนอก ไม้ที่ถูกทำลายก็จะเสียกำลังความแข็งแรงไปไม่สามารถรับน้ำหนักหรือแรงกดต่างๆ ได้ มอดชนิดนี้มักพบเข้าทำลายไม้ที่มีความชื้นค่อนข้างต่ำ โดยพบเข้าทำลายไม้ที่มีความชื้น ตั้งแต่ 2-30% แต่ที่พบเข้าทำลายมากจะพบในไม้ที่มีความชื้น 12-15%
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
มอดขี้ขุย (Power-Post Beetle)
จะเข้าทำลายไม้ได้รุนแรงมากจนเนื้อไม้ภายในถูกทำลายเป็นผงคล้ายแป้งเป็นส่วนใหญ่ เหลือเฉพาะผิวไม้ด้านนอกเป็นผนังบางๆ มีรูทางออกกระจายทั่วไป ไม้ที่ถูกทำลายจะเป็นรูขนาด 1/32 ถึง 1/3 นิ้ว ภายในมีผงคล้ายแป้ง การทำลายเริ่มโดยตัวแก่จะวางไข่ตามรอยแตกของไม้ เมื่อไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน หรือตัวหนอนก็จะเข้าไปกัดกินเนื้อไม้ภายในส่วนที่เป็นกระพี้เรื่อยไป และลอกคราบภายในหลายครั้งจนโตเต็มที่จึงเข้าสู่ดักแด้ เมื่อดักแด้ลอกคราบเป็นตัวแก่แล้วจsะเจาะเนื้อไม้ออกมาภายนอก
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
มอดรูเข็ม (Pin-hole Beetle)
เป็นมอดอีกชนิดหนึ่งที่ชอบระบาดในแถบที่มีฝนตกชุกและมีความชื้นสูง มักจะเข้าทำลายไม้ตอนที่ติดกับเปลือก และมักเข้าทำลายในระหว่างที่ไม้ยังสดและมีความชื้นสูงมาก ลักษณะการเข้าทำลายของแมลงจำพวกนี้คือ เจาะทำลายเนื้อไม้ภายใน รูที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นรูเล็กๆ ภายในเนื้อไม้ขนาดประมาณ 1/100 ถึง 1/8 นิ้ว ภายในรูทางเดินหรือที่ปากทางออกเรียบเกลี้ยง ไม่มีขี้มอด และในขณะเดียวกันบริเวณรูทำลายจะพบเชื้อราสีน้ำเงินเข้มจนถึงสีดำตามทางเดิน ทำให้ปริมาณความเสียหายรุนแรงมากยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่เป็นการทำลายของแมลงจำพวก Ambrosia Beetle ซึ่งมอดพวกนี้จะกินเชื้อราที่พบเป็นอาหาร
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
(Ambrosia Beetles)
มอดชนิดที่กล่าวถึงนี้ชอบระบาดในแถบที่มีฝนตกชุกและมีความชื้นสูง ปัจจุบันพบว่าทำความเสียหายให้เกิดกับไม้ยางพาราในประเทศมาเลเซียอย่างมาก ลักษณะการเข้าทำลายของแมลงจำพวกนี้ คือ เจาะทำลายเนื้อไม้ภายในและในขณะเดียวกันบริเวณรูทำลาย ความเสียหายรุนแรงขึ้น แมลงพวกนี้พบทำลายไม้ชนิดอื่นๆ ในประเทศไทยยังไม่พบเข้าทำความเสียหายให้เกิดกับไม้ยางพารา แต่ก็จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่ควรจะได้หาทางป้องกันการทำลายเสียแต่ต้นมือ เนื่องจากเข้าทำลายแล้วจะทำความเสียหายให้เกิดได้อย่างรุนแรงมาก
move up
move down
แก้ไขข้อมูล
remove
เพิ่มข้อมูล
move up
move down
edit
remove
Contact
Slideshow
Pricing
Pricing
Ad Banner
Photo Gallery
List
Number List
Image List
Image
Text
Header
ย้อนกลับ
Information
ปิดหน้าต่าง